ราชื่อโปรแกรมพร้อมทั้งการใช้งานที่เป็นการบำรุงรักาาคอมพิวเตอร์ และ การพัฒนา CPU

03:06 oiw 0 Comments

1. ให้หารายชื่อโปรแกรมพร้อมทั้งการใช้งานที่เป็นการบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์

 HardDisk
ฮาร์ดดิส เปรียบเสมือนคลังเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพราะฉะนั้นจึงต้องมีความจุที่ค่อนข้างสูง ภายในฮาร์ดดิสก์จะมีแผ่นจานเหล็กกลมแบบที่ใช้บันทึกข้อมูลวางซ้อนกันเป็น ชั้นๆ และยึดติดกับมอเตอร์ที่มีความเร็วในการหมุนหลายพันรอบต่อนาทีโดยมีแขนเล็กๆ ที่ยื่นออดมา ตรงปลายแขนจะมีหัวอ่านซึ่งใช้สำหรับการอ่านหรือเขียนข้อมูลลงบนจานแม่เหล็ก การอ่านหรือเขียนข้อมูลของฮาร์ดดิสก์จะใช้หลักการเปลี่ยนแปลงของสนามแม่ เหล็กที่หัวอ่านขนาดของจานที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop) จะมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3.5 นิ้ว ส่วนถ้าเป็นฮาร์ดดิสก์ของโน้ตบุ๊คก็ประมาณ 2.5 ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูป harddiskนิ้วhttp://thaiwinadmin.blogspot.com/2007/08/kb-082007-15.html

 CPU
 หน่วยประมวลผลกลางในการทำงานของคอมพิวเตอร์ เจ้าซีพียู(CPU:Central Processing Unit) นี้เปรียบเสมือนสมองของคอมพิวเตอร์ภายในประกอบไปด้วยสารกึ่งตัวนำทาง อิเล็กทรอนิกส์ที่เรียกว่า ซิลิกอน(Silicon)โดยนำซิลิกอนมาเจือกับวัสดุบางชนิดเพื่อให้เกิดสภาวะของการ นำไฟฟ้าได้ ซิลิกอนที่ผ่านการเจือเหล่านี้ จะถูกนำมาเรียงต่อกันเป็นทรานซิสเตอร์ ซีพียู(CPU :Central Processing Unit)มีจำนวนหลายสิบล้านตัวเลยทีเดียวครับ มีหน้าที่ คือ ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นการคำนวณ หรือการวิเคราะห์ข้อมูลก็ตาม แม้แต่การทำงานของอุปกรณ์อื่นๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ก็ต้องอาศัยการสั่งการจากซีพียู(CPU:Central Processing Unit)เสมอผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูป cpu
สิ้นสุดการสนทนาhttps://sites.google.com

RAM 
หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม  (อังกฤษ: random access memory: RAM) เป็นหน่วยความจำหลัก ที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ยุคปัจจุบัน หน่วยความจำชนิดนี้ อนุญาตให้เขียนและอ่านข้อมูลได้ในตำแหน่งต่างๆ อย่างอิสระ และรวดเร็วพอสมควร โดยคำว่าเข้าถึงโดยสุ่มหมายความว่าสามารถเข้าถึงข้อมูลแต่ละตำแหน่งได้เร็วเท่าๆ กัน ซึ่งต่างจากสื่อเก็บข้อมูลชนิดอื่นๆ อย่างเทป หรือดิสก์ ที่มีข้อจำกัดของความเร็วในการอ่านและเขียนข้อมูลและความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล ที่ต้องทำตามลำดับก่อนหลังตามที่จัดเก็บไว้ในสื่อ หรือมีข้อกำจัดแบบรอม ที่อนุญาตให้อ่านเพียงอย่างเดียว
ข้อมูลในแรม อาจเป็นโปรแกรมที่กำลังทำงาน หรือข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล ของโปรแกรมที่กำลังทำงานอยู่ ข้อมูลในแรมจะหายไปทันที เมื่อระบบคอมพิวเตอร์ถูกปิดลง เนื่องจากหน่วยความจำชนิดนี้ จะเก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้นผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูป ram  http://mahachaipond.blogspot.com
Mainboard  
แผงวงจรขนาดใหญ่ที่รวบรวมเอาส่วนประกอบหลักๆที่สำคัญของคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกัน มีลักษณะเป็นแผ่น circuit board รูปร่างสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งเต็มไปด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อน ดังนั้นเมนบอร์ดจึงเปรียบเสมือนศูนย์กลางในการทำงานเป็นศูนย์กลางเชื่อมต่ออุปกรณ์อื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นซีพียู แรม ฮาร์ดดิส ซีดีรอม และการ์ดต่างๆ
สาเหตุที่ทำให้อุปกรณ์เมนบอร์เสีย
1. เกิดจากการผิดพลาดในการผลิต
2.อายุการใช้งาน ตามสภาพ
3.จากการกระทำที่เกินความสามารของเมนบอร์ด เช่น การทำโอเวอร์คล๊อก
4. เกิดจารกระแสไฟลัดวงจร
5.จากการประกอบที่ไม่ถูกต้อง
6. หนู อันนี้มักเกิดจากเปิดฝาเครื่องทิ้งไว้และอาจจะมีหนูในห้อง
7.ความร้อนและความชื้น ทั้งสองอย่างถ้ามีมากเกินไป
8. สุดท้ายก้ยังอาจจะมีสาเหตุอื่น เปนสาเหตุที่อาจพบขึ้นเองhttp://chattepcomputertip.blogspot.com
การบำรุงรักษาอุปกรณ์

เมื่อมีการถอดอุปกรณ์เมมบอร์ดออกจากเครื่องควรพยายามถอดออกอย่างระัดระวัง และควรทำการปัดฝุ่นให้สะอาด ระวังอย่าให้เมมบอร์ดโดนน้ำหรือตกหล่น เพราะจะทำให้อุปกรณ์ชิ้นน้อบนเมมบอร์เกิดชำรุด หรือหลุ่นหายทำให้เมมบอร์ดใช้งานไม่ได้อีกเลย เมื่อนำอุปกรณ์เมนบอร์ดมาตรวจสอบความเรียบร้อยพร้อมกับทำความสะอาดอย่างระมัดระวังก็ถึงเวลานำมาประกอบกับเครื่อง ก็ควรระวังเป็นพิเศษ ตรวจสอบอุปกรณ์ต่างๆ ให้ครบแลเวประกอบเข้าเครื่อง เมื่อเรารู้สึกว่าเกิดขัดข้องบนอุปกรณ์เมนบอร์ดขึ้นก็พยายามตรวจสอบและดูแลรักษาหรือให้ผู้เชี่ยวชาญด้านนี้โดยเฉพาะเป็นผู้กระอุปกรณ์ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูป mainboard


 PowerSupply 
 เป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญอย่างมากต่ออุปกรณ์เกือบทุกตัวในระบบคอมพิวเตอร์ ซัพพลายของคอมพิวเตอร์นั้นมีลักษณะการทำงาน คือทำหน้าที่แปลงกระแสไฟฟ้าจาก 220 โวลต์ เป็น 3.3 โวลต์, 5 โวลต์ และ 12 โวลต์ ตามแต่ความต้องการของอุปกรณ์นั้น ๆ โดยชนิดของพาวเวอร์ซัพพลายในคอมพิวเตอร์จะแบ่งได้เป็น ชนิดตามเคส คือแบบAT และแบบ ATX

หลักการทำงานของพาวเวอร์ซัพพลายพาวเวอร์ซัพพลายทั้งแบบ AT และ ATX นั้นมีลักษณะการทำงานที่เหมือนกันคือรับแรงดันไฟจาก 220-240 โวลต์ โดยผ่านการควบคุมด้วยสวิตช์ สำหรับ AT และเมนบอร์ดแล้วส่งแรงดันไฟส่วนหนึ่งกลับไปที่ช่อง AC output เพื่อเลี้ยงตัวมอนิเตอร์และจะส่งแรงดันไฟ 220 โวลต์ อีกส่วนหนึ่งเข้าสู่หน่วยการทำงานที่ทำหน้าที่แปลงแรงดันไฟสลับ 220 โวลต์ ให้เป็นไฟกระแสตรง 300 โวลต์ โดยไม่ผ่านหม้อแปลงไฟ ระบบนี้เรียกว่า (Switching power supply ) และผ่านหม้อแปลงที่ทำหน้าที่แปลงไฟตรงสูงให้เป็นไฟตรงต่ำ โดยจะผ่านชุดอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่กำหนดแรงดันไฟฟ้าอีกชุดหนึ่งแบ่งให้เป็น และ 12 ก่อนที่จะส่งไปยังสายไฟและตัวจ่ายต่าง ๆ โดยความสามารถพิเศษของ Switching power supply ก็คือ มีชุดSwitching ที่จะทำการตัดไฟเลี้ยงออกทันทีเมื่อมีอุปกรณ์ที่โหลดไฟตัวใดตัวหนึ่งชำรุดเสียหายหรือช็อตนั่นเอง
ประเภทของ Power Supply แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่คือ
AT เป็นแหล่งจ่ายไฟที่นิยมใช้กันในประมาณ 16-17 ปีก่อน (พ.ศ. 2539) โดยปุ่มเปิด - ปิด การทำงานเป็นการต่อตรงกับแหล่งจ่ายไฟทำให้เกิดปัญหากับอุปกรณ์บางตัว เช่น ฮาร์ดดิสก์ หรือซีพียู ที่ต้องอาศัยไฟในชั่วขณะหนึ่งก่อนที่จะเปิดเครื่อง (วิธีดูง่าย ๆ จะมีสวิตซ์ปิดเปิด จากพาวเวอร์ซัพพลายติดมาด้วย)
ATX เป็นแหล่งจ่ายไฟที่นิยมใช้ในปัจจุบัน โดยมีการพัฒนาจาก AT โดยเปลี่ยนปุ่มปิด - เปิด ต่อตรงกับส่วนเมนบอร์ดก่อน เพื่อให้ยังคงมีกระแสไฟหล่อเลี้ยงอุปกรณ์ก่อนที่จะปิดเครื่อง ทำให้ลดอัตราเสียของอุปกรณ์ลง โดยมีรุ่นต่าง http://it-difference.blogspot.comผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูป powersupply
จอภาพ LCD


ปัจจุบันเราแทบจะไม่ค่อยได้เห็นจออ้วนๆเหมือนสมัยก่อนแล้วนะครับ เจ้าจออ้วนนี้เราเรียกกันว่าจอ CRT (Cathode Ray Tube) หลักการทำงานขอจอภาพก็คล้ายๆ กับจอโทรทัศน์ แต่ว่าเดี๋ยวนี้จอประเภทนี้กำลังจะล้มหายตายจากกันไปหมดแล้วครับ แล้วก็ถูกแทนที่ด้วยจอ LCD (Liquid Crystal
Display) หรือ จอ LED (Light-Emitting-Diod) แต่ไม่ว่าจะเป็นจอแบบไหน ข้อควรระวังเบื้องต้นก็คืออย่าติดตั้งไว้ใกล้กับบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก อย่าเอานิ้วหรือวัสดุใดๆ ไปจิ้มที่หน้าจอเด็ดขาด แล้วอย่าใช้น้ำยาหรือสารอื่นใดที่ไม่ได้มีไว้สำหรับเช็ดหน้าจอมาเช็ดเด็ดขาด สรุปก็คืออย่าพยายามไปแตะต้องหน้าจอเป็นที่ดีสุด

ที่ห้ามมิให้ไปกดหรือจิ้มที่หน้าจอ LCD เป็นเพราะว่าด้านในนั้นบรรจุของเหลวที่เรียกว่า Liquid Crystal เจ้าสิ่งนี้เป็นส่วนประกอบสำคัญในการแสดงภาพให้เราได้เห็น เวลาเราจิ้มที่หน้าจอจะสังเกตเห็นเป็นรอยช้ำกระจายออกเหมือนเป็นถุงน้ำ นั่นก็เป็นเพราะเจ้า Liquid Crystal นี่แหละครับ ดังนั้นหากเราจิ้มบ่อยๆ เข้า จอก็อาจจะเกิดความเสียหาย หรืออาจเกิดสิ่งที่เรียกว่า Dead Pixel ขึ้น ทำให้ภาพที่เห็นไม่สมบูรณ์หรืออาจถึงขั้นใช้งานไม่ได้เลย

จอ LCD นั้นจะบอบบางกว่าจอ CRT ครับ แล้วยิ่งนานวันเข้าก็จะยิ่งบางลงๆ ทุกที เราจึงต้องใช้งานอย่างเบามือมาก โดยเฉพาะโน้ตบุ๊คที่ทุกวันนี้ก็เริ่มบางลงไปอีก ต้องระมัดระวังอย่าให้วัสดุอื่นใดไปโดนหน้าจอเพราะความบอบบางของมันอาจจะทำให้เกิดเป็นรอยได้ แล้วเวลาเราจะปิดโน้ตบุ๊ค ทางที่ดีก็ไม่ควรปิดจอลงทันที ถ้าเป็นไปได้ก็ควรทิ้งไว้สักพักให้ความร้อนระบายออกก่อนจะดีกว่า ไม่เช่นนั้นความร้อนก็จะยังสะสมอยู่ที่หน้าจอ
จอ LCD บางรุ่นจะมีการเคลือบสารกันแสงสะท้อน หรือถ้าเป็นจอแบบ Clear Bright ที่หน้าจอจะมีความเงาและสะท้อนแสง แบบนี้ห้ามใช้น้ำยาที่มีส่วนผสมของแอมโมเนียเด็ดขาด ไม่งั้นจอจะเป็นรอยด่างเหลืองน่าสยดสยอง
ทีนี้เมื่อใช้งานไปนานๆ เข้าก็เป็นไปไม่ได้ที่หน้าจอจะไม่มีร่องรอยหรือคราบสกปรก แต่เพิ่งบอกไปหยกๆ ว่าห้ามไปแตะต้องมัน แล้วจะเช็ดยังไงล่ะ ก็ไม่ถึงกับห้ามเช็ดครับ เพียงแต่วัสดุที่จะใช้เช็ดต้องเฉพาะเจาะจงสักหน่อย เราสามารถใช้ผ้าไมโครไฟเบอร์ หรือผ้าชามัวร์ มาเช็คทำความสะอาดได้ครับ โดยอาจใช้น้ำยาสำหรับทำความสะอาดหน้าจอ LCD โดยเฉพาะด้วยก็ได้ ต้องเลือกแบรนด์ที่เชื่อถือได้ด้วยนะครับ อาจจะราคาสูงสักหน่อยแต่ไว้ใจได้มากกว่า แล้วการเช็ดจอนั้นก็ควรปิดหน้าจอก่อนทุกครั้ง
การใช้งานจอภาพก็มีส่วนยืดอายุได้เช่นกันครับ เราควรเปิดจอภาพก่อนที่จะเปิดเครื่อง อย่าปิด-เปิดติดๆ กัน เมื่อปิดไปแล้วก็ควรทิ้งระยะสักพักหากจะเปิดใหม่ ควรปรับความสว่างของหน้าจอให้เหมาะกับสภาพแวดล้อม ถ้าตั้งค่าหน้าจอให้สว่างจนเกินไปก็จะลดอายุการใช้งาน และหากต้องทิ้งเครื่องไปนานๆ ก็ควรตั้ง Turn Off the Display หน่วงเวลาไว้สัก 10-15 นาที หรือไม่ก็ปิดหน้าจอไปเลยก็ได้ ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูป จอภาพLCDhttps://stanglibrary.wordpress.com
                                                             

การพัฒนา CPU

 CPU (Central Processing Units) หรือ หน่วยประมวลผล เป็นอุปกรณ์ ที่เป็นหัวใจของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพราะการทำงานทั้ง
    หมดไม่ว่าจะเป็นการคำนวณการยายข้อมูลการตัดสินใจ เป็นการทำงานของซีพียู หากแต่ซีพียูจะต้องมีอื่นๆ งานร่วมเพราะอุปกรณ์
    ทุกตัวล้วนมีหน้าที่ในการทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

                                                                               รูปที่4.1 ตัวอย่างซีพียู 

          วิวัฒนาการของซีพียู                  
       บริษัท อินเทล (Intel) เป็นบริษัทรายแรกที่ผลิตซีพียู  เริ่มต้นผลิตเป็นซีพียูรุ่น 8080 หรือที่อินเทลเรียกว่า “Intel 8080” มีขนาด 8 บิต
     บรรจุทรานซิสเตอร์ประมาณ 50,000ตัว รูปร่างของไอซีจะเหมือนกับตีนตะขาบ โดยจะมีจำนวนขา 40 ขาเรียกว่า PID :Dual  In
     Package ต่อมาเมื่อเทคโนโลยีก้าวหน้ามากขึ้น การผลิตซีพียูรุ่นต่อๆ มาก็เปลี่ยนมาใช้เทคโนโลยีแบบ VLS: Very Large Scale
     Integrate แทน

                                                                            รูปที่4.2ซีพียู Intel 8088                            
     

         การพัฒนาซีพียูก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว และถูกพัฒนาให้อยู่ในรูปไมโครชิปที่เรียกว่าไมโครโปรเซสเซอร์ ไมโครโปรเซสเซอร์
     จึงเป็นหัวใจหลักของระบบคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ถึงไมโครคอมพิวเตอร์ ล้วนแล้วแต่ใช้ไมโครชิปเป็นซีพียูหลัก
     ในเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ เช่น ES9000  ของบริษัท ไอบีเอ็มก็ใช่ไมโครชิปเป็นซีพียู แต่อาจจะมีมากกว่าหนึ่งชิปประกอบรวมเป็น
     ซีพียู เทคโนโลยีไมโครโปรเซสเซอร์ได้พัฒนาอย่างรวเร็ว ดังรายละเอียดสรุปได้ดัวนี้
       1... 2518บริษัท อินเทลได้พัฒนาไมโครโปรเซสซอร์ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ ไมโครโปรเซสเซอร์เบอร์ 8080 ซึ่งเป็นซีพียูขนาด บิต
     ซีพียูรุ่นนี้จะรับข้อมูลเข้ามาประมวลผลภาษาเครื่องหรือระบบเลขฐาน28ครั้ง8บิต และทำงานภายใต้ระบบปฏิบัติการซีพีเอ็ม (CP/M)
     นอกจากขีดความสามารถในการประมวลผลภาในการรับส่งข้อมูลระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์ภายนอกแล้ว ยังต้องพิจารณาขีดความ
     สามารถของซีพียูในการเข้าไปเขียนอ่านในหน่วยความจำด้วย ซีพียู 8088 สามารถเขียนอ่านในหน่วยความจำได้สูงสุดเพียง 1 เมกะ
     ไบต์ ซึ่งถือว่ามากในขณะนั้น ความเร็วของการทำงานของซีพียูกับการใช้จังหวะที่เรียกว่า สัญญาณนาฬิกาซีพียู 8088 ถูกกำหนด
     จังหวะด้วยสัญญาณนาฬิกาที่มีความเร็ว 4.77 ล้านรอบใน 1 วินาที หรือที่เรียกว่า 4.77 เมกะเฮิรตซ์ (MHz)
       2.บริษัทแอปเปิลก็เลือกซีพียู 6502 ของบริษัท มอสเทคมาผลิตเป็นเครื่องแอปเปิลได้รับความนิยมมาในยุคนั้น
   
รูปที่ 4.3 ซีพียู 6502

       3. .2524 บริษัท ไอบีเอ็มมีการพัฒนาเป็นซีพียู 16 บิตที่มีการรับข้อมูลได้ครั้งละ 16 บิต ซีพียู 8088 แบบ 16 บิตนี้เรียกว่า ซีพี และ
    ซีพีรุ่นแรก
      
       4. ใน พ..2527 บริษัท ไอบีเอ็มเสนอไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ที่ทำงานได้ดีกว่าเดิมโดยใช้ชื่อรุ่นว่า พีซีเอที      (PC-AT)
    คอมพิวเตอร์รุ่นนี้ใช้ซีพียูเบอร์ 80286 ทำงานที่ความเร็วคือ 6 เมกะเฮิรตซ์ การทำงานของซีพียู 80286ดีกว่ารุ่นที่ผ่านมามาก เพราะ
    รับส่งข้อมูลกันอุปกรณ์ภายในเป็นแบบ 16 บิตการประมวลผลแบบ 16 บิต ทำงานด้วยความเร็วของจังหวะสัญญาณนาฬิกาสูงกว่า
    และยังติดต่อเขียนอ่านกับหน่วยความจำได้มากกว่า คือ ติดต่อได้สูงสุด 16 เมกะไบต์ หรือ 16เท่าของคอมพิวเตอร์รุ่นพีซี พัฒนาการ
    ของเครื่องคอมพิวเตอร์พีซีเอที่ทำให้ผู้ผลิตอื่นออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์ตามอย่างไอบีเอ็มโดยเพิ่มขีดความสามารถเฉพาะของตน
    เองเข้าไปอีก เช่น ใช้สัญญาณนาฬิกาสูงเป็น 8 เมกกะเฮิรตซ์ ถึง 16 เมกะเฮิรตซ์ ไมโครคอมพิวเตอร์บนรากฐานของพีซีเอทีจึงมีผู้ใช้
    กันทั่วโลกยุคนี้จึงเป็นยุคที่ไมโครคอมพิวเตอร์แพร่หลาย

                                                                                                            รูปที่ 4.4 ซีพียู 80286
       5. ใน พ..2529 บริษัทอินเทลผลิตซีพียูรุ่น 80386 มาเป็นซีพียูหลักของระบบ วีพียู 80386 มาเป็นซีพียูหลักของระบบ ซีพียู 80386 เพิ่มเติมขีดความ
    สามารถคือรับส่งข้อมูลครั้งละ 38 บิตติดต่อกับหน่วยความจำได้มากถึง 4 กิกะไบต์จังหวะสัญญาณนาฬิกาเพิ่มได้สูงถึง 33 เมกะเฮิรตซ์ ขีดความสามารถ
    สูงกว่าซีพียูรุ่นเดิมมาก
                                                                  
                                                                                                   รูปที่ 4.4 ซีพียู 80386
       6.ใน พ..2530 บริษัท ไอบีเอ็มเริ่มประกาศขายไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ที่ชื่อว่าพีเอสทู (PS/2) โดยมีโครสร้างทางฮาร์ดแวร์ของระบบแตกต่างออก
    ไปโดยเฉพาะระบบเส้นทางส่งถ่ายข้อมูลภายใน (bus)
       7.ใน พ..2531 บริษัท อินเทลผลิตเครื่อง80386SX80 พียู 386SX ใช้กับโครงสร้างเครื่องพีซีเอทีเดิมได้พอดี โดยไม่ต้องดัดแปลงอะไร ทั้งนี้เพราะโครง
    สร้างภายในซีพียูเป็นแบบ 80386 แต่โครงสร้างการติดต่อกับอุปกรณ์ภายนอกใช้เส้นทางเพียงแค่ 16 บิต ไมโครคอมพิวเตอร์ 80386SX จึงเป็นที่นิยมเพราะ
    มีราคาถูกและสามารถคอมพิวเตอร์รุ่น 80386 แต่ไม่เป็นที่นิยมมากนักทั้งนี้เพราะยุคเริ่มต้นของเครื่องคอมพิวเตอร์ 80386 มีราคาแพงทางบริษัทจึงได้ลด
    ขีดความสามารถของ 80386 ให้เหลือเพียง ทดแทนเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นพีเอทีได้
       8.ใน พ..2535 บริษัทอินเทลได้ผลิตซีพียู 80486 ซึ่งซีพียู 80486 ไม่มีข้อเด่นอะไรมากนัก เพียงแต่ใช้เทคโนโลยีการรวมชิป 80387 เข้ากับซีพียู 80386
     ซึ่งชิป 80387 เป็นหน่วยคำนวณทางคณิตศาสตร์ และรวมเอาส่วนจัดการหน่วยความจำเข้าไว้ในชิปทำให้การทำงานโดยรวมรวดเร็วขึ้นอีก
                                                                         
                                                                                                        รูปที่ 4.6 ซีพียู Intel 80386
       9. ใน พ..2535 อินเทลได้ผลิตซีพียูตัวใหม่ที่มีขีดความสามารถสูงขึ้น ชื่อว่า เพนเทียม การผลิตไมโครคอมพิวเตอร์จึงได้เปลี่ยนมาใช้ซีพียูเพนเทียม
    ซึ่งเป็นซีพียูที่มีขีดความสามารถเชิงคำนวณสูงกว่าซีพียู 80486 โดยใช้ระบบการถ่ายข้อมูลได้ถึง 64 บิตการพัฒนาทางด้านซีพียูเป็นไปอย่างต่อเนื่อง
    ไมโครโปรเซสเซอร์รุ่นใหม่จะมีโครงสร้างที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น ใช้งานได้ดีมากขึ้นและจะเป็นซีพียูในรุ่นที่ 6 ของบริษัท อินเทล โดยมีชื่อว่า Pentium II,ตาม
    ด้วย Pentium III, Pentium 4,INTEL XEON, Pentium dual, INTEL CORE2 DUO,INTEL PEMTIUM E และสำหรับรายละเอียดขอลการพัฒนาการของ
    ซีพียูส่วนมากจะเน้นข้อมูลของบริษัท อินเทล ผู้ผลิตรายแรกสำหรับบริษัทอื่นจะได้กล่าวในหัวข้อต่อไป
                                                                        


0 ความคิดเห็น: